วันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2557


                                                               บันทึกการเรียน ครั้งที่ 5 
             ประจำวันพฤหัสบดี ที่ 25 กันยายน 2557








แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
 - เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
 -นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
 Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
   - นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อสาร
2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
   - การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อสาร
3.มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
   - การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
   - เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา

การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะภาษา
  - ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยๆของภาษา
  - การประสมคำความหมายของคำ
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
  - สนใจอยากรู้ อยากเห็น
  - ช่างสงสัย ช่างชักถาม
  - มีความคิดสร้างสรรค์
การสอนภาษาแบบธรรมชาติ
เป็นการเรียนภาษาแบบองค์รวม
  -สอนแบบบูรณาการ /องค์รวม
  -สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
  -สอดแทรกการฝึกทักษะ การฟัง พูด อ่าน เขียน
  -ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด
หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1. การจัดสภาพแวดล้อม
2. การสื่อสารที่มีความหมาย
3. การเป็นแบบอย่าง
4. การตั้งความคาดหวัง
5. การคาดคะเน
6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7. การยอมรับนับถือ
8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น












 สรุปจากการดูวีดีโอ เรื่องภาษาธรรมชาติเป็น My mapping 










อาจารย์แจกชีสเพลง และสอนร้องเพลง 10 เพลง






ประโยชน์ที่ได้
      สามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้ โดยเฉพาะอาชีพครู เพราะภาษาธรรมชาติเป็นภาษาที่สำคัญในการใช้สอนเด็กปฐมวัย และเพลงเป็นสิ่งที่สำคัญมากอีกอย่างหนึ่งที่ขาดไม่ได้ในการสอนเด็กปฐมวัย

ประเมินตัวเอง
ตั้งใจฟังตั้งใจเรียนในสิ่งที่อาจารย์สอนและตั้งใจดูวิดีโอที่อาจารย์เปิดให้ดู

ประเมินอาจารย์
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลามีวิดีโอเข้ามาในการสอนทำให้การเรียนหน้าสนใจเพิ่มมากขึ้น

ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจดูวิดีโอและช่วยกันร้องเพลงที่ครูสอน






วันพฤหัสบดีที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2557

                                                                       บันทึกการเรียน ครั้งที่ 4

                                ประจำวันพฤหัสบดี ที่ 18 กันยายน 2557


นำเสนองานในหัวข้อทักษะภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย  ฟัง พูด อ่าน เขียน

1. การฟัง   กลุ่ม 101
   ทักษะการฟัง 
การฟังคือ กระบวนการของการได้ยินแล้วใช้เสมอแปลความหมาย
วัย 2 ขวบ ชอบฟังอะไรที่มันสั้นๆ และเสียงของธรรมชาติ






2.การพูดสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่ม 101 ,102
 เด็กสามารถพูดออกเป็นคำได้ตั้งแต่ 9-10 เดือน และเริ่มเลียนแบบเสียงที่เขาได้ยิน
2-3 ขวบ จะเริ่มรู้คำศัพท์เพิ่มมากขึ้น จาก 50 คำ เป็น 300 คำ
เมื่อ 3 ขวบ สามารถพูดประโยคที่ซับซ้อนขึ้นได้

พัฒนาการทางด้านภาษา
-การรับรู้และการเข้าใจภาษา
-การแสดงออกและการพูด

แนวทางการสอนเด็กปัญญาอ่อน
-เวลาสอนควรใช้ภาษาระดับเดียวกัน
-ในระยะแรกเริ่มสอนตั้งแต่คำพยางค์เดียวก่อน

อนุบาล 1 ชอบพูดเป็นคำ คำเดียวโดดๆ
อนุบาล 2 พูดเป็นประโยชน์สั้นๆ
อนุบาล 3 ประโยชน์จะสมบูรณ์แบบ เริ่มมีคำวิเศษณ์เข้ามาในการพูด










3. การอ่าน    กลุ่ม 101, 102
       
 การอ่าน  คือ  กระบวนการที่ผู้อ่านรับรู้สารซึ่งเป็นความรู้  ความคิด  ความรู้สึก  และ ความคิดเห็นที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
วัยทารก (infant) : 1 ขวบปีแรก
        - 6-8 เดือนแรกเด็กทุกคนเริ่มสามารถรับรู้ความแตกต่างของหน่วยเสียงที่มีอยู่ในทุกภาษาทั่วโลกได้
        ก่อนอายุ 10 เดือนเด็กจะเริ่มปรับความสามารถให้เข้ากับหน่วยเสียงและไวยากรณ์ของภาษาแม่หรือผู้เลี้ยงดู
        - หลังจากอายุ 10 เดือนความสามารถดังกล่าวเริ่มจำกัดการพัฒนาอยู่เฉพาะในภาษาแม่
วัยเตาะแตะ (toddler) : 1-3 ปี
        - เด็กให้ความสนใจเสียงที่เด็กไม่สามารถพูดได้
        - แสดงความสนใจเสียงหรือกลุ่มเสียงที่เหมือนกันเมื่อมีการอ่านกลอน หรือเล่าเรื่องนิทานที่มีคำคล้องจอง
        - เริ่ม มีการเชื่อมโยงเสียงกับตัวอักษร เช่น เมื่อเด็กอ่านหนังสือกับผู้เลี้ยงดู เด็กจะชี้และพยายามออกเสียงตามตัวอักษร หรือใช้คำจากภาษาพูดเพื่อเชื่อมโยงเสียงกับตัวอักษร เช่น /d/daddy, /b/bee, /ก/ไก่, /จ/จาน
วัยก่อนเรียนระยะต้น(early preschool) : อายุ 3-4 ปี
       -  มีความสนใจเสียงต่าง ๆ ของภาษา โดยเฉพาะ "คำคล้องจอง" (rhyme) ที่มีในเพลง
        -  บอกตัวอักษรได้ 10 ตัว โดยเฉพาะตัวอักษรที่อยู่ในชื่อของเด็ก
วัยก่อนเรียนระยะปลาย(late preschool) : อายุ 4-5 ปี           - สามารถ แยกพยางค์ในคำที่ฟังได้ (ร้อยละ 50 เด็กสามารถบอกจำนวนพยางค์ในคำที่ฟังได้) wa แก้ว-น้ำ, water (เช่น แก้วน้ำ-ter เป็นคำที่มีสองพยางค์ เป็นต้น)
            - เริ่มแยกหน่วยเสียงย่อย ในคำที่ฟังได้ (ร้อยละ 20 เด็กสามารถบอกจำนวนหน่วยเสียงย่อยในคำที่ฟังได้)
วัยอนุบาลตอนต้น(beginning kindergarten) : อายุ 5-5 ½ ปี
        
สามารถเปรียบเทียบคำสองคำที่ฟังว่าคล้องจองกันหรือไม่ (เช่น กา-ขา, cat-bat)
        
สามารถบอกคำที่มีเสียงคล้องจองกับคำที่ฟังได้
        
สามารถบอกตัวอักษรได้เกือบทุกตัว





4. การเขียน กลุ่ม 101, 102
การเขียนของเด็กปฐมวัย คือ การเขียนถ่ายทอดเรื่องราวความคิดออกมาอย่างมีความหมาย

อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเขียน
-มือ
-ตา
-สมองหรือสติปัญญา
  
กิจกรรมที่ส่งเสริมการเขียน
-กิจกรรมภายในครอบครัว
-กิจกรรมจากทางโรงเรียน เช่น กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์




5. อาจารย์สอนร้องทบทวนเพลงเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว


สิ่งที่ได้และนำไปใช้ในอนาคต





สิ่งที่ได้ในวันนี้ทำให้เราสามารถนำทักษะ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพได้ต่อไปในอนาคต โดยเฉพาะ อาชีพครูมีความจำเป็นมากๆที่จะใช้ทักษะเหล่านี้ในการประกอบวิชาชีพครู

ประเมินตัวเอง
ตั้งใจเรียนตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนกล้าแสดงออก

ประเมินอาจารย์
อาจารย์ให้นำเสนองานฝึกให้นักศึกษากล้าแสดงออก 

ประเมินเพื่อน
เพื่อนกล้าแสดงออกโดยการออกไปนำเสนองานแต่ก็มีเพื่อนบางคนไม่ตั้งใจฟังการนำเสนอในส่วนรวมถือว่าดีมาก

                             
                         

วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557

                                           บันทึกการเรียนครั้งที่ 3
                              ประจำวันพฤหัสบดี ที่ 11 กันยายน 2557






แนวคิดนักการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาภาษาของเด็กปฐมวัย


1. แนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม
          - Skinner สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่พัฒนาการของเด็ก (สิ่งเร้า)
          - John B.Watson พฤติกรรมเด็กสามารถสั่งได้

2. แนวคิดกลุ่มพัฒนาทางสติปัญญา

          - Vygotsky เด็กเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวของเด็ก 
             ผู้ใหญ่มีหน้าที่ชี้แนะ ช่วยเหลือ ส่งเสริม และเป็นกำลังใจให้
          - Piaget เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

3. แนวคิดเชื่อเรื่องความพร้อมของร่างกาย

          - Arnold Gesell

4. แนวคิดของกลุ่มเชื่อว่าภาษาติดตัวเด็กมาตั้งแต่เกิด

          - Noam Chomsky
          - O. Hobart Miwrer (คิดค้นทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ)


5. ครูสอนร้องเพลง 10 เพลง




คุณครูให้ทำกิจกรรมวาดรูปสิ่งที่ตัวเองชอบที่สุด














ประโยชน์ที่ได้
   -ได้เรียนรู้ทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวกัพฤติกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย การพัฒนาการทางด้านต่างๆ
   -ได้มีความคิดสร้างสรรค์วาดรูปในสิ่งที่ตัวเองชิบ
   -ได้รู้เพลงปฐมวัยเพิ่มมากขึ้น

 ประเมินตัวเอง
ตั้งใจเรียนและตั้งใจทำงานที่ได้รับมอบหมาย

ประเมินอาจารย์
อาจารย์เป็นกันเองให้ความสนใจนักศึกษา

ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจเรียนและทำงานที่ครูได้มอบหมายให้ทำ

วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
วันที่ 4 กันยาน 2557

ภาษาหมายถึง การสื่อความหมายเป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดและความรู้สึก

องค์ประกอบของภาษา





















ประโยชน์ที่ได้


   ได้รู้จักภาษามากขึ้น ได้รู้ว่าองค์ประกอบของภาษามีอะไรบ้างเพราะภาษาเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้จะประกอบอาชีพครูต้องเรียนรู้เพราะจำเป็นอย่างมากในการเรียนการสอน

ประเมินตัวเอง
  ตั้งใจเรียน ไม่พูดคุยกันเสียง ตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์สอน

ประเมินอาจารย์
   เข้าสอนตรงเวลา มีเนื้อหาที่ละเอียดในการใช้สอน การอธิบายบรรยายได้เข้าใจดี

ประเมินเพื่อน
มีบางครั้งที่พูดคุยกันเสียงดังเกินไปต้องปรับปรุงตัว